ผลกระทบ ของ การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

ผลกระทบของพวยเถ้าถ่านต่อการจราจรทางอากาศ

การประมาณของเมฆเถ้าเมื่อเวลา 18:00 น. UTC ของวันที่ 22 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร)

เถ้าภูเขาไฟเป็นอันตรายอย่างใหญ่หลวงต่ออากาศยาน[26] ตำแหน่งของพวยเถ้าถ่านในปัจจุบันขึ้นอยู่กับสภาพของการปะทุและลม

การจราจรทางอากาศได้รับผลกระทบอย่างหนักภายหลังการปะทุครั้งที่สอง ในขณะที่เถ้าภูเขาไฟบางส่วนได้ตกลงสู่พื้นที่ซึ่งไม่มีคนอาศัยอยู่ของไอซ์แลนด์ ซึ่งส่วนใหญ่ถูกพัดพาไปโดยลมตะวันตก อันส่งผลให้มีการปิดนานฟ้าบริเวณกว้างขวางในทวีปยุโรป ควันและเถ้าจากการปะทุลดทัศนวิสัยของการนำทางด้วยภาพ และกองเศษหินซึ่งเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นในเถ้าสามารถหลอมละลายในเครื่องยนต์หลอดของอากาศยาน ทำให้เครื่องยต์เสียหายและต้องปิดลง[23][26]

ผลกระทบระยะสั้นและระยะยาวต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

แหล่งที่มา

WikiPedia: การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 http://www.skybrary.aero/index.php/Volcanic_Ash http://www.fotopedia.com/en/2010_eruptions_of_Eyja... http://www.life.com/image/first/in-gallery/41852/e... http://vimeo.com/11008464 http://www.dmu.dk/International/News/vulcanicplume... http://www.geo.mtu.edu/volcanoes/hazards/primer/te... http://cimss.ssec.wisc.edu/goes/blog/archives/4872 http://earthobservatory.nasa.gov/NaturalHazards/ev... http://www.nasa.gov/topics/earth/features/iceland-... http://www.noaa.gov/features/03_protecting/volcani...